สวัสดีค่ะทุกคน彡☆
ขอโทษด้วยที่หายไปนานเลยนะคะต่อไปนี้จะไปหายไปนานๆแล้วล่ะค่ะ (>_<)
เอาล่ะค่ะ เพื่อไม่ให้เป็นการเสียเวลา เรามาเข้าเรื่องกันเลยดีกว่าค่ะ
Task ครั้งนี้เป็นกิจกรรมที่ได้ลองทำกันในห้อง โดยเราได้ลองดูภาพ แล้วเล่าเรื่องให้อีกฝ่ายฟัง
โจทย์ภาพที่ให้เล่าของเราเป็นอย่างนี้ค่ะ ^^ เป็นเรื่องราวน่ารักๆ เกี่ยวกับ "เด็กและสุนัข" (赤ちゃんと犬)
คราวนี้ลองมาดูกันดีกว่าค่ะว่า เรามีพัฒนาการในการเล่าเรื่องอย่างไรบ้าง~♪
① By myself:
เล่าเรื่องภาษาญี่ปุ่นครั้งแรก หลังจากที่ได้ลองเล่าเรื่องให้อีกฝ่ายฟังเป็นภาษาไทย
その現場は、一人と一匹がいます。一人と一匹っていうのは、一人が赤ちゃんっていうキャラクター。で、もう一つのキャラクターは一匹の犬ちゃんです。(あぁ)その現場は、そのわんちゃん、その犬は今寝ています。で、あのう、赤ちゃんはわんちゃんの近くに近づけて・・・あ、赤ちゃんは犬の近くに行こうとしています。(歩く?その・・)いいえ、赤ちゃんみたいに(動く?)はい、動く。そういう動き方をしました。で、そのとき、どうして、あのう、犬の近くに、あのう、行きたいかというと、その犬の裏に乗ってみたいっていうことです。(あぁー)はい、赤ちゃんの考え方ですね。はい。(あぁ)で、近づいたら、犬が急に、あのう、起きました。で、二人とも目合って、ビックリしましたよ。もちろん、そうですよね。自分が寝たら、目をあけたら、えっ、誰かが目の前にいるか(起こしました)ビックリしましたよね、(ええ。はい。そうですね。)そんな近い距離に。で、あのう、そう来ても、犬は赤ちゃんに全然興味持っていませんでした。(うん)だから、無視して、別の方向に向いていました。(あぁー(笑))はい、で、赤ちゃんは、まぁ、どうしても犬と遊びたいですよね。(はい)ですから、まぁ、今、あのう、自分の顔に向いている方が犬のしっぽ。ですから、犬を回して、犬の顔に見えるように歩いていて、で、結局、丸っていう形みたいに犬の所まで行って。(あのう、しっぽは、なんか、赤ちゃんは犬のしっぽ、なんかタッチする?)あぁー しません。ただ、方向だけです。もし振り向くっていうことだったら、顔がこっちにありますよね。で、しっぽは別の方向、逆の方向になっているじゃないですか。(うん)で、赤ちゃんは元々顔が見えない方向にいました。で、その目と目とか、顔が見えるようにそういう方向に行って、っていうことは回して行きました。(はい、はい。)で、結局、犬の顔に見えて、何かよくわからない言葉でお互いで話し合いました。(うーん。結局、犬は赤ちゃんの裏に乗らない?)そうですね。乗らなかったです。(はい。)
《内省 ①》
・เริ่มแรกมาก็ผิดเลยค่ะ ;; เพราะดันไปใช้คำว่า 現場 ซึ่งจริงๆ มีความหมายว่า "ที่เกิดเหตุ" เนอะ
・ตอนนั้นนึกคำว่า คลาน (はう/はいはいをする) ไม่ออก
・ไม่ทราบว่า ถ้าอยากบอกว่า หมุนเป็นวงกลม (ぐるっと回す) ต้องพูดยังไงด้วย เลยทำให้อธิบายเรื่องทิศทางเสียยาวยืดเลย
・ยังให้ความสำคัญกับ 視点 ที่เล่าไม่พอนัก ทำให้ผู้ฟังอาจสับสนได้
・ลืมใช้ไวยากรณ์ V.てしまう ในกรณีที่เหตุการณ์ "เกิดขึ้นไป(เสีย)แล้ว"
・เล่าเรื่องโดยใช้การบรรยายภาพอย่างเดียวเลย ทำให้การเล่าเรื่องขาดความสนใจและอรรถรส
② I see:
นำการเล่าเรื่องภาษาญี่ปุ่นในครั้งแรกมาแก้ไข หลังจากอาจารย์แนะนำข้อบกพร่อง (ครั้งที่ 1)
และได้เห็นตัวอย่างการเล่าเรื่องของคนญี่ปุ่นแล้ว
และได้เห็นตัวอย่างการเล่าเรื่องของคนญี่ปุ่นแล้ว
小さくて可愛い赤ちゃんがいました。その赤ちゃんは、 その近くで寝ている犬に「馬みたいに乗ってみたいなあ」 と思って犬の近くにはいはいをして近づいて行きました。すると、 その犬が突然目を覚まして、お互い に 顔を合わせてしまいました。 赤ちゃんはとてもビックリして慌てしまいましたが、 犬に乗りたい意志をまだ曲げないで、 今回は犬の視線に注目されない(?)尻のほうにぐるりとまわってはいは いをして行きました。しかし、この時犬が向きを変わったので、 結局、赤ちゃんの目の前には、犬の尻じゃなくて犬の顔でした が出てしまいました/現れてしまいました 。 赤ちゃんはとても不思議がっていて、 赤ちゃんなりのことばで犬と話しました。 その時はもしかして犬に質問したかもしれませんね。
《内省 ②》
1. ลักษณะการเล่าเรื่อง- ในตอนแรก ยังติดลักษณะการเล่าเรื่องแบบภาษาไทยอยู่ คือ เล่าจากฉากที่มีก่อน เช่น เรื่องนั้นเกิดขึ้นที่ไหน มีตัวละครอะไรบ้าง และมุ่งเน้นไปที่
การบรรยายภาพอย่างเดียว แต่จากที่ได้ศึกษางานเขียน ตั วอย่างแล้ว ก็พบว่า ทำให้ทราบว่า คนญี่ปุ่นนิยมเล่าโดยการเริ่มต้ นเรื่องจากตัวละครไปเลย แล้วจึงค่อยๆเล่าเป็นเหตุการณ์ ตามลำดับไป นอกจากนี้ การเสริมคำคิดของตัวละคร เช่น 「馬みたいに乗ってみたいなあ」と思って... ก็เป็นจุดที่ช่วยสร้างสีสันให้ เรื่อง - ในการเล่าเรื่อง ผู้เล่าเรื่องควรคำนึงถึงมุ
มมองการเล่าเรื่องโดยยึดตั วละครใดตัวละครหนึ่งเป็นหลั กไปเลย เพื่อให้ผู้ฟังไม่สับสน ข้อสังเกตนี้ตอกย้ำความคิดเกี่ ยวกับลักษณะนิสัยของคนญี่ปุ่นที ่ข้าพเจ้าเคยคิด กล่าวคือ คนญี่ปุ่นมักเอาใจใส่ฝ่ายตรงข้ ามเสมอ ซึ่งนี่เป็นลักษณะนิสัยหนึ่งที่ ข้าพเจ้าอยากนำมาปฏิบัติตาม
- ในตอนแรก ข้าพเจ้านึกคำว่า “คลาน” ไม่ออก (จำได้ลางๆว่าคือคำว่า はう) แต่หลังจากที่ศึกษางานเขียนตั
วอย่างแล้วพบว่า คนมักจะใช้คำว่า はいはいする ทั้งนี้ ที่เป็นเช่นนั้น ข้าพเจ้าคิดว่าน่าจะเป็นเพราะว่ าเรื่องนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกั บเด็กนั่นเอง - หลังจากแก้งานแล้ว ข้าพเจ้าได้ลองใช้กริยารูป ~てしまう ทำให้ได้ความรู้สึกว่า ทำไปเสียแล้ว
- ได้ลองใช้คำศัพท์ที่เก็
บใจความเรื่องได้ดี เช่น 近づいてくる (มาใกล้ๆ) และคำศัพท์/สำนวนใหม่ๆที่อยากพู ด แต่ไม่เคยรู้มาก่อนว่าพูดอย่ างไร (ทำให้แต่ก่อนเลี่ยงไปใช้คำที่ ง่ายกว่าซึ่งตัวเองรู้อยู่แล้ วแทน) คำศัพท์/สำนวนใหม่ๆที่ลองใช้ ในงานเขียนแก้ไขครั้งนี้ เช่น ぐるりとまわる (หมุนเป็นวงกลม), 向きが変わる (เปลี่ยนทิศที่หันหน้า), 不思議がる (สงสัย) - ได้ลองให้คำขยายที่ทำให้เห็นภาพ เช่น 突然, ぐるり ทำให้ผู้ฟังน่าจะจิ
นตนาการภาพเรื่องราวได้ดีขึ้น
3. เพิ่มเติม (จากการแก้ไขของอาจารย์)
- การใช้คำว่า "...ด้วยกันทั้งสองฝ่าย" お互い + に เสมอ
- จุดที่บอกว่า 今回は犬の視線に注目されない(?)尻のほうに จริงๆตั้งใจจะสื่อว่า "ก้นที่สุนัขจะไม่ได้ให้ความสนใจ" แต่น่าจะสื่อความหมายกำกวม ไม่เป็นธรรมชาติ
- ประโยคที่บอกว่า 赤ちゃんの目の前には、犬の尻じゃなくて犬の顔でした。ในตอนแรกผิดหลักไวยากรณ์ เพราะจริงๆ ต้องใช้ว่า "สถานที่ に、นาม が出る/現れる" ดังนั้น ประโยคนี้ จึงควรแก้ไขเป็น 赤ちゃんの目の前には、犬の尻じゃなくて犬の顔 が出てしまいました/現れてしまいました 。
เป็นอย่างไรบ้างคะ
มหากาพย์การเล่าเรื่องภาษาญี่ปุ่นของเรา
มีจุดผิดบึมเลย T__T
ต่อจากนี้คงต้องใส่ใจ และพยายามกับภาษาญี่ปุ่นให้มากขึ้นแล้ว!
นอกจากได้รู้ระดับทักษะภาษาญี่ปุ่นของตัวเองแล้ว สิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรมนี้ก็คือ สติสำคัญมาก!!
ไม่ว่าจะสื่อสาร เล่าเรื่อง หรือทำอะไร เราก็ควรมีสติในทุกๆการกระทำ
สำหรับวันนี้ก็ขอจบบทความสรุปงานไปแต่เพียงเท่านี้
ไว้มาพบกันใหม่ในบทความเสนอความรู้นะคะ สวัสดีค่ะ~~(*^^*)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น